ข้อมูลสาเหตุการป่วยด้วยโรคที่ต้องระวังทางระบาดวิทยา
ตารางที่ 14 สาเหตุการป่วยด้วยโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 15 อันดับแรก ปี พ.ศ. 2550 2552
อันดับ |
สาเหตุการป่วย |
ปี 2550 |
ปี 2551 |
ปี 2552 |
จำนวน |
อัตรา |
จำนวน |
อัตรา |
จำนวน |
อัตรา |
1 |
โรคอุจจาระร่วง |
271 |
2228.93 |
333 |
2740.74 |
211 |
1743.04 |
2 |
โรคไข้ไม่ทราบสาเหตุ |
258 |
2131.53 |
491 |
4041.15 |
132 |
1107.04 |
3 |
โรคตาแดง |
51 |
421.35 |
22 |
181.07 |
0 |
0.00 |
4 |
โรคอาหารเป็นพิษ |
53 |
421.35 |
241 |
1983.54 |
19 |
1107.23 |
5 |
โรคปอดปวม |
26 |
214.16 |
13 |
107.00 |
25 |
206.54 |
6 |
โรคมือเท้าปาก |
25 |
206.54 |
0 |
0.00 |
5 |
41.31 |
7 |
โรคงูสวัด |
13 |
107.40 |
0 |
0.00 |
0 |
0.00 |
8 |
โรคคางทูม |
7 |
57.83 |
3 |
24.69 |
0 |
0.00 |
9 |
โรคเลปโตสไปโรซีส |
7 |
57.83 |
1 |
8.23 |
5 |
41.31 |
10 |
โรคไข้เลือดออก |
4 |
33.05 |
28 |
230.45 |
0 |
0.00 |
11 |
โรคสุกใส |
0 |
0.00 |
9 |
74.07 |
11 |
100.20 |
12 |
โรคมัยอีลอยด์โดซีส |
0 |
0.00 |
4 |
33.05 |
0 |
0.00 |
13 |
โรควัณโรค |
4 |
33.05 |
2 |
16.52 |
5 |
41.31 |
14 |
โรคติดต่อทางเพศ |
1 |
8.26 |
0 |
0.00 |
5 |
41.31 |
15 |
โรคไข้สมองอักเสบ |
1 |
8.26 |
0 |
0.00 |
0 |
0.00 |
รวม |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
แหล่งข้อมูล : ข้อมูลรายงานทางระบาดวิทยากลุ่มงานเวชปฎิบัติครอบครัวและชุมชน
จากตรารางที่ 14 พบว่าอุจาระร่วง ยังเป็นสาเหตุการป่วยอันดับแรกของประชาชนในพื้นที่ แต่มีแนวโน้มที่จะลดลงเนื่องจากมีกิจกรรมสุขาภิบาลอาหารโดยมีสารวัตรอาหารในพื้นที่ส่วนโรคไข้เลือดออกก็สามารถควบคุมได้ปี 2552 เนื่องจากมีการเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายและการประสานงานกับ องค์การบริหารส่วนตำบลป่าคาหลวงในการควบคุมโรคคู่ไปด้วยกันส่วนโรควัณโรคมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นซึ้งต้องวางแผนการคัดกรองที่ครอบกลุ่มที่มีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นส่วนโรคที่เริ่มเป็นปัญหาที่ชัดเจนมากขึ้นคือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แผนภูมิที่ 14 แสดงสาเหตุการป่วยด้วยโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก ปี พ.ศ.2550 - 2552

แหล่งข้อมูล : ข้อมูลรายงานทางระบาดวิทยากลุ่มงานเวชปฎิบัติครอบครัวและชุมชน
จากตรารางที่ 14 พบว่าอุจาระร่วง ยังเป็นสาเหตุการป่วยอันดับแรกของประชาชนในพื้นที่ แต่มีแนวโน้มที่จะลดลงเนื่องจากมีกิจกรรมสุขาภิบาลอาหารโดยมีสารวัตรอาหารในพื้นที่ส่วนโรคไข้เลือดออกก็สามารถควบคุมได้ปี 2552 เนื่องจากมีการเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายและการประสานงานกับ องค์การบริหารส่วนตำบลป่าคาหลวงในการควบคุมโรคคู่ไปด้วยกันส่วนโรควัณโรคมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นซึ้งต้องวางแผนการคัดกรองที่ครอบกลุ่มที่มีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นส่วนโรคที่เริ่มเป็นปัญหาที่ชัดเจนมากขึ้นคือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์